คำถามที่พบบ่อย คือลูกจ้างเป็นพนักงานขาย นำเงินที่ลูกค้าชำระรับไปเป็นของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ค่าดาวน์รถและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ลูกจ้างจะ  มีความผิดฐานลักทรัพย์ หรือมีความผิดฐานยักยอก ตอบ ความผิดฐานลักทรัพย์  คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2387/2564          จำเลยเป็นลูกจ้างผู้เสียหาย มีหน้าที่ขายรถยนต์ให้ลูกค้าของผู้เสียหายและเก็บเงินจากลูกค้าไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ด่าดาวน์รถกับ คำใช้จ่ายอื่น ๆ เกี่ยวกับการซื้อขายรถซึ่งได้รับจากลูกค้าที่ซื้อรถจากผู้เสียหาย เงินจำนวนต่าง ๆ ที่จำเลยรับไว้จากลูกค้า เป็นการรับเงินไว้ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ในฐานะลูกจ้างผู้เสียหาย ซึ่งมีหน้าที่ติดต่อกับลูกค้าผู้มาซื้อรถ จำเลยเพียงแต่รับเงินและยึดถือไว้ชั่วคราวก่อนจะนำส่งมอบให้ผู้เสียหายเท่านั้น อำนาจในการครอบครองควบคุมดูแลเงินดังกล่าวจึงเป็นของผู้เสียหาย เมื่อจำเลยรับ เงินจากลูกค้าของผู้เสียหายรวม 7 ครั้งแล้วเอาเงินดังกล่าวไปโดยทุจริต การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐาน ลักทรัพย์ที่เป็นของนายจ้างตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (11) วรรคแรก ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

คำถามที่พบบ่อย คือลูกจ้างเป็นพนักงานขาย นำเงินที่ลูกค้าชำระรับไปเป็นของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ค่าดาวน์รถและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ลูกจ้างจะ มีความผิดฐานลักทรัพย์ หรือมีความผิดฐานยักยอก ตอบ ความผิดฐานลักทรัพย์ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2387/2564 จำเลยเป็นลูกจ้างผู้เสียหาย มีหน้าที่ขายรถยนต์ให้ลูกค้าของผู้เสียหายและเก็บเงินจากลูกค้าไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ด่าดาวน์รถกับ คำใช้จ่ายอื่น ๆ เกี่ยวกับการซื้อขายรถซึ่งได้รับจากลูกค้าที่ซื้อรถจากผู้เสียหาย เงินจำนวนต่าง ๆ ที่จำเลยรับไว้จากลูกค้า เป็นการรับเงินไว้ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ในฐานะลูกจ้างผู้เสียหาย ซึ่งมีหน้าที่ติดต่อกับลูกค้าผู้มาซื้อรถ จำเลยเพียงแต่รับเงินและยึดถือไว้ชั่วคราวก่อนจะนำส่งมอบให้ผู้เสียหายเท่านั้น อำนาจในการครอบครองควบคุมดูแลเงินดังกล่าวจึงเป็นของผู้เสียหาย เมื่อจำเลยรับ เงินจากลูกค้าของผู้เสียหายรวม 7 ครั้งแล้วเอาเงินดังกล่าวไปโดยทุจริต การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐาน ลักทรัพย์ที่เป็นของนายจ้างตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (11) วรรคแรก ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

คำถามที่พบบ่อย คือลูกจ้างเป็นพนักงานขาย นำเงินที่ลูกค้าชำระรับไปเป็นของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ค่าดาวน์รถและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ลูกจ้างจะ มีความผิดฐานลักทรัพย์ หรือมีความผิดฐานยักยอก
ตอบ ความผิดฐานลักทรัพย์ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2387/2564
จำเลยเป็นลูกจ้างผู้เสียหาย มีหน้าที่ขายรถยนต์ให้ลูกค้าของผู้เสียหายและเก็บเงินจากลูกค้าไม่ว่าจะเป็นเงินค่าจองรถ ด่าดาวน์รถกับ คำใช้จ่ายอื่น ๆ เกี่ยวกับการซื้อขายรถซึ่งได้รับจากลูกค้าที่ซื้อรถจากผู้เสียหาย เงินจำนวนต่าง ๆ ที่จำเลยรับไว้จากลูกค้า เป็นการรับเงินไว้ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ในฐานะลูกจ้างผู้เสียหาย ซึ่งมีหน้าที่ติดต่อกับลูกค้าผู้มาซื้อรถ จำเลยเพียงแต่รับเงินและยึดถือไว้ชั่วคราวก่อนจะนำส่งมอบให้ผู้เสียหายเท่านั้น อำนาจในการครอบครองควบคุมดูแลเงินดังกล่าวจึงเป็นของผู้เสียหาย เมื่อจำเลยรับ เงินจากลูกค้าของผู้เสียหายรวม 7 ครั้งแล้วเอาเงินดังกล่าวไปโดยทุจริต การกระทำของจำเลยจึงเป็นความผิดฐาน ลักทรัพย์ที่เป็นของนายจ้างตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 335 (11) วรรคแรก
ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

คดี รับของโจร มีประเด็นข้อต่อสู้ ดังนี้ 1. เจ้าของทรัพย์สินที่นำไปขายนั้น เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่แท้จริงหรือไม่แต่หากว่าทรัพย์สินนั้นผิดกฎหมาย เช่น ยาเสพติด กฎหมายไม่รับรองคุ้มครอง 2. ต้องวิเคราะห์ว่าการกระทำของผู้ที่ได้นำเอาทรัพย์สินมาขายให้นั้น มีความผิด 8 ฐานตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง กระโชก รีดเอาทรัพย์ (ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๕๗)3.ราคาของทรัพย์สินที่ซื้อเทียบกับราคาท้องตลาด หากแตกต่างกันมาก เช่น ซื้อต่ำกว่าราคาปกติมาก อาจมีข้อพิรุธว่าจำเลยรู้ว่าทรัพย์มาจากการกระทำความผิด(ราคาตลาด 130,000บาทรับซื้อแค่ 3,500 บาท) 4.ผู้ขายมีข้อพิรุธหรือไม่ เช่น อายุ อาชีพ รายได้ รูปลักษณ์ลักษณะ บุคลิกภาพ ไม่ได้ขายของเป็นอาชีพ ฯลฯ (ตัวอย่าง เด็กเอาทองไปขายให้ห้างทอง) 5.ลักษณะทรัพย์สิน  มีข้อพิรุธ มีทะเบียนของทรัพย์สิน หรือไม่เช่น มีร่องรอยการ ขูด เขียน ลบ ต่อเติม เสริมแต่ง หรือหากว่าเป็นทรัพย์สินที่มีทะเบียน แต่จำเลยไม่ได้ตรวจสอบ อาจแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ไม่ดี (หากเป็นทรัพย์สินที่ไม่มีทะเบียนอาจจะยากต่อการตรวสอบ เช่น พระเครื่อง ) 6.มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ในการรับซื้อทรัพย์สิน หรือไม่เช่น เอกสาร สัญญา บัญชี ใบเสร็จรับเงิน ทะเบียน อย่างตรงไปตรงมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่า มีการรับซื้อด้วยความสุจริต แต่หากไม่มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ อาจส่อให้เห็นถึงความมีพิรุธหรือเจตนารมณ์ที่ไม่ดีได้7.การกระทำของจำเลยที่ให้ความร่วมมือกับตำรวจ  เช่น การไม่หลบหนี การให้การที่เป็นประโยชน์ ตรงไปตรงมา ไม่ปกปิด ส่อให้เห็นถึงความบริสุทธิ์ใจ แต่หากมีการกระทำในลักษณะไม่ให้ความร่วมมือ เช่น ปกปิด หลบเลี่ยง ไม่พูดความจริง อาจแสดงให้เห็นข้อพิรุธทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

คดี รับของโจร มีประเด็นข้อต่อสู้ ดังนี้ 1. เจ้าของทรัพย์สินที่นำไปขายนั้น เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่แท้จริงหรือไม่แต่หากว่าทรัพย์สินนั้นผิดกฎหมาย เช่น ยาเสพติด กฎหมายไม่รับรองคุ้มครอง 2. ต้องวิเคราะห์ว่าการกระทำของผู้ที่ได้นำเอาทรัพย์สินมาขายให้นั้น มีความผิด 8 ฐานตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง กระโชก รีดเอาทรัพย์ (ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๕๗)3.ราคาของทรัพย์สินที่ซื้อเทียบกับราคาท้องตลาด หากแตกต่างกันมาก เช่น ซื้อต่ำกว่าราคาปกติมาก อาจมีข้อพิรุธว่าจำเลยรู้ว่าทรัพย์มาจากการกระทำความผิด(ราคาตลาด 130,000บาทรับซื้อแค่ 3,500 บาท) 4.ผู้ขายมีข้อพิรุธหรือไม่ เช่น อายุ อาชีพ รายได้ รูปลักษณ์ลักษณะ บุคลิกภาพ ไม่ได้ขายของเป็นอาชีพ ฯลฯ (ตัวอย่าง เด็กเอาทองไปขายให้ห้างทอง) 5.ลักษณะทรัพย์สิน มีข้อพิรุธ มีทะเบียนของทรัพย์สิน หรือไม่เช่น มีร่องรอยการ ขูด เขียน ลบ ต่อเติม เสริมแต่ง หรือหากว่าเป็นทรัพย์สินที่มีทะเบียน แต่จำเลยไม่ได้ตรวจสอบ อาจแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ไม่ดี (หากเป็นทรัพย์สินที่ไม่มีทะเบียนอาจจะยากต่อการตรวสอบ เช่น พระเครื่อง ) 6.มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ในการรับซื้อทรัพย์สิน หรือไม่เช่น เอกสาร สัญญา บัญชี ใบเสร็จรับเงิน ทะเบียน อย่างตรงไปตรงมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่า มีการรับซื้อด้วยความสุจริต แต่หากไม่มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ อาจส่อให้เห็นถึงความมีพิรุธหรือเจตนารมณ์ที่ไม่ดีได้7.การกระทำของจำเลยที่ให้ความร่วมมือกับตำรวจ เช่น การไม่หลบหนี การให้การที่เป็นประโยชน์ ตรงไปตรงมา ไม่ปกปิด ส่อให้เห็นถึงความบริสุทธิ์ใจ แต่หากมีการกระทำในลักษณะไม่ให้ความร่วมมือ เช่น ปกปิด หลบเลี่ยง ไม่พูดความจริง อาจแสดงให้เห็นข้อพิรุธทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

คดี รับของโจร มีประเด็นข้อต่อสู้ ดังนี้ 1. เจ้าของทรัพย์สินที่นำไปขายนั้น เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่แท้จริงหรือไม่แต่หากว่าทรัพย์สินนั้นผิดกฎหมาย เช่น ยาเสพติด กฎหมายไม่รับรองคุ้มครอง 2. ต้องวิเคราะห์ว่าการกระทำของผู้ที่ได้นำเอาทรัพย์สินมาขายให้นั้น มีความผิด 8 ฐานตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ เช่น ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ยักยอก ฉ้อโกง กระโชก รีดเอาทรัพย์ (ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๕๗)3.ราคาของทรัพย์สินที่ซื้อเทียบกับราคาท้องตลาด หากแตกต่างกันมาก เช่น ซื้อต่ำกว่าราคาปกติมาก อาจมีข้อพิรุธว่าจำเลยรู้ว่าทรัพย์มาจากการกระทำความผิด(ราคาตลาด 130,000บาทรับซื้อแค่ 3,500 บาท) 4.ผู้ขายมีข้อพิรุธหรือไม่ เช่น อายุ อาชีพ รายได้ รูปลักษณ์ลักษณะ บุคลิกภาพ ไม่ได้ขายของเป็นอาชีพ ฯลฯ (ตัวอย่าง เด็กเอาทองไปขายให้ห้างทอง) 5.ลักษณะทรัพย์สิน มีข้อพิรุธ มีทะเบียนของทรัพย์สิน หรือไม่เช่น มีร่องรอยการ ขูด เขียน ลบ ต่อเติม เสริมแต่ง หรือหากว่าเป็นทรัพย์สินที่มีทะเบียน แต่จำเลยไม่ได้ตรวจสอบ อาจแสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ไม่ดี (หากเป็นทรัพย์สินที่ไม่มีทะเบียนอาจจะยากต่อการตรวสอบ เช่น พระเครื่อง ) 6.มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ ในการรับซื้อทรัพย์สิน หรือไม่เช่น เอกสาร สัญญา บัญชี ใบเสร็จรับเงิน ทะเบียน อย่างตรงไปตรงมา ซึ่งแสดงให้เห็นว่า มีการรับซื้อด้วยความสุจริต แต่หากไม่มีการออกหลักฐานหรือเอกสารต่างๆ อาจส่อให้เห็นถึงความมีพิรุธหรือเจตนารมณ์ที่ไม่ดีได้7.การกระทำของจำเลยที่ให้ความร่วมมือกับตำรวจ เช่น การไม่หลบหนี การให้การที่เป็นประโยชน์ ตรงไปตรงมา ไม่ปกปิด ส่อให้เห็นถึงความบริสุทธิ์ใจ แต่หากมีการกระทำในลักษณะไม่ให้ความร่วมมือ เช่น ปกปิด หลบเลี่ยง ไม่พูดความจริง อาจแสดงให้เห็นข้อพิรุธทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์ ทนายโทนี่

ดร.สุทธิชัย ปัญญโรจน์ บรรยาย ” กฎหมายจราจรและการขับขี่รถอย่างปลอดภัย” ให้แก่นักเรียนโรงเรียนป่าแดดวิทยาคม ณ โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 จัดโดย สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย สาขาพาน

ดร.สุทธิชัย ปัญญโรจน์ บรรยาย ” กฎหมายจราจรและการขับขี่รถอย่างปลอดภัย” ให้แก่นักเรียนโรงเรียนป่าแดดวิทยาคม ณ โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 จัดโดย สำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงราย สาขาพาน

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471-472/2567 โจทก์ไม่เคยเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน สปก 4-01 หลังจากตนได้รับอนุญาตจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เท่ากับโจทก์สละสิทธิทำประโยชน์ในที่พิพาทและยอมโอนสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดินให้จำเลยแล้ว โจทก์ฟ้องขับไล่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต ส่วนจำเลยที่ไม่รับอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์แต่กลับเข้าไปทำประโยชน์ในที่พิพาทและลักลอบซื้อขายที่ดินกันเป็นทอดๆ เป็นเรื่องที่สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมต้องไปว่ากล่าวเอาแก่จำเลยเอง โดยไม่ได้ทำให้โจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลย ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471-472/2567 โจทก์ไม่เคยเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน สปก 4-01 หลังจากตนได้รับอนุญาตจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เท่ากับโจทก์สละสิทธิทำประโยชน์ในที่พิพาทและยอมโอนสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดินให้จำเลยแล้ว โจทก์ฟ้องขับไล่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต ส่วนจำเลยที่ไม่รับอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์แต่กลับเข้าไปทำประโยชน์ในที่พิพาทและลักลอบซื้อขายที่ดินกันเป็นทอดๆ เป็นเรื่องที่สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมต้องไปว่ากล่าวเอาแก่จำเลยเอง โดยไม่ได้ทำให้โจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลย ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471-472/2567
โจทก์ไม่เคยเข้าทำประโยชน์ในที่ดิน สปก 4-01 หลังจากตนได้รับอนุญาตจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เท่ากับโจทก์สละสิทธิทำประโยชน์ในที่พิพาทและยอมโอนสิทธิเข้าทำประโยชน์ในที่ดินให้จำเลยแล้ว โจทก์ฟ้องขับไล่เป็นการใช้สิทธิไม่สุจริต ส่วนจำเลยที่ไม่รับอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์แต่กลับเข้าไปทำประโยชน์ในที่พิพาทและลักลอบซื้อขายที่ดินกันเป็นทอดๆ เป็นเรื่องที่สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมต้องไปว่ากล่าวเอาแก่จำเลยเอง โดยไม่ได้ทำให้โจทก์มีอำนาจฟ้องขับไล่จำเลย
ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)
คำพิพากษาฎีกา 700 / 2517 จำเลยเป็นภรรยาของผู้ตาย โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส จำเลยจึงไม่ใช่ภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมาย อันจะถือว่าเป็นทายาทโดยธรรมที่จะมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายได้ โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ของผู้ตายจึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1737 ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)

คำพิพากษาฎีกา 700 / 2517 จำเลยเป็นภรรยาของผู้ตาย โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส จำเลยจึงไม่ใช่ภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมาย อันจะถือว่าเป็นทายาทโดยธรรมที่จะมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายได้ โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ของผู้ตายจึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1737 ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)

คำพิพากษาฎีกา 700 / 2517 จำเลยเป็นภรรยาของผู้ตาย โดยไม่ได้จดทะเบียนสมรส จำเลยจึงไม่ใช่ภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมาย อันจะถือว่าเป็นทายาทโดยธรรมที่จะมีสิทธิรับมรดกของผู้ตายได้ โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนี้ของผู้ตายจึงไม่มีสิทธิฟ้องจำเลยได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1737 ทนายสุทธิชัย ปัญญโรจน์(ทนายโทนี่)