แบบหล่อฟุตติ้งสำเร็จรูป ตัวแปรทำให้รั้วบ้านทนทานแข็งแรง

แบบหล่อฟุตติ้งสำเร็จรูป ตัวแปรทำให้รั้วบ้านทนทานแข็งแรง

ปัจจุบันการสร้างรั้ว ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดๆ ก็ตาม ถือว่าเป็นขั้นตอนพื้นฐานที่ต้องคำนึงถึงความแข็งแรง ที่จะได้จากการก่อสร้างในส่วนของโครงสร้างของรั้วก่อน และแน่นอนว่าหนึ่งในปัจจัยนั้น นอกจากเสารั้วแล้วยังต้องมีส่วนเสริมอื่นๆ ที่อยู่ในส่วนฐานราก หรือเป็นส่วนล่างสุดของรั้วบ้านท่านเอง ดังนั้นฟุตติ้งสำเร็จรูป จึงเป็นเหมือนกับตัวแปรที่สำคัญมากๆ เลยทีเดียว ที่จะส่งผลให้รั้วนั้นมีความทนทานมากขึ้น

และในเมื่อปัจจัยในด้านความนิยมที่แพร่หลายตอนนี้ กลายเป็นเรื่องที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ในด้านของความสะดวกสบาย จากการที่ได้เปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดของรั้วบ้าน ที่เปลี่ยนแปลงกลายมาเป็นรั้วสำเร็จรูปทั้งหมดอยู่แล้ว ดังนั้นส่วนของโครงสร้างถ้าหากว่าเลือกส่วนใดที่เป็นสำเร็จรูปได้ จะเป็นการจัดการกับส่วนของส่วนประกอบต่างๆ ของรั้วให้ทำงานร่วมกันได้อย่างสมดุลมากขึ้น เพราะฉะนั้นถ้าเป็นการติดตั้งแบบหล่อฟุตติ้งสำเร็จรูปในยุคนี้ เราถือว่าเป็นขั้นตอนพื้นฐานที่จะมาซึ่งความทนทานของรั้วบ้านท่านแน่นอนร้อยเปอร์เซ็นต์

 

น้ำหนักและขนาดฟุตติ้งสำเร็จรูป

ปัจจุบันมาตรฐานของฐานรากหรือส่วนฟุตติ้งของเสารั้วนั้น หากเป็นขนาดที่ลงตัวเหมาะสมที่สุด ปัจจุบันถ้าเป็นขนาดที่มีตั้งแต่ 50 ซม.ขึ้นไป ในระยะความสูงที่ 40- 50 ซม. ด้วยเช่นกัน จะเป็นการส่วนตัวแปรที่สำคัญ ของการที่จะทำให้เสารั้วของท่านมีความทนทานมากกว่า ยิ่งโดยเฉพาะกับการใช้งานกับรั้วสำเร็จรูป ในด้านของเสารั้วที่ส่วนใหญ่จะมาในรูปแบบของเสาเข็มไอ ที่ถูกคิดค้นขนาดและคุณสมบัติมาเป็นพิเศษ สำหรับการใช้งานกับรั้วชนิดนี้โดยเฉพาะ ถือว่าเป็นทุกชิ้นงานที่จะทำให้การทำงานรั้วกับฟุตติ้งสำเร็จรูปนั้น มีความคงที่และเป็นคุณสมบัติที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยตรงเพื่อการใช้งานร่วมกันโดยเฉพาะเลยนั่นเอง ซึ่งปัจจุบันตามขนาด และคุณสมบัติทั้งหมดของวัสดุที่มาพร้อมกันเป็นเซต ในแต่ละชุดของการก่อสร้างตามรูปแบบที่ต้องการ หากท่านสามารถใช้ชุดส่วนประกอบทั้งหมด ที่คิดค้นมาเพื่อการติดตั้งพร้อมกันได้เลยนั้น จะทำให้คุณภาพของงานที่ท่านต้องการนั้นเพิ่มมากขึ้น อย่างเช่นตัวแปรของรั้วบ้านที่เป็นคอนกรีตสำเร็จรูปนี้นั่นเอง

 

คุณภาพของรั้วที่จะเท่ากันทุกส่วนหากท่านใช้ฟุตติ้งสำเร็จรูป

เชื่อว่าปัญหาส่วนมากที่พบ ภายหลังจากการสร้างรั้วบ้าน คือคุณภาพของส่วนต่างๆ ของรั้วนั้นมักจะมีความไม่เท่ากันสักเท่าไหร่นัก และแน่นอนที่สุดคือการที่ท่านนั้น จะต้องมาคอยเสี่ยงดวงกันอีกทีว่า การชำรุดเสียหายภายหลังนั้นจะเกิดขึ้นตอนใดบ้าง ดังนั้นไม่ควรจะต้องรอให้การชำรุดเกิดขึ้น แล้วจึงต้องมาแก้ภายหลัง ในเมื่อท่านสามารถทำให้รั้วบ้านท่านเองมีมาตรฐานเท่ากันตลอดแนว โดยท่านเริ่มได้จากการที่ท่านเพิ่มความมั่นคงให้โครงสร้างรั้ว ด้วยการเปลี่ยนมาเป็นการติดตั้งแบบหล่อฟุตติ้งสำเร็จรูปตลอดแนว เป็นจุดเริ่มต้นของฐานเสารั้วนั้นมีความมั่นคงมากขึ้น

และนอกจากนั้นยังช่วยเพิ่มปัจจัยที่ทำให้ท่าน ประหยัดงบประมาณการแก้ไขหรือซ่อมแซม โดยแน่นอนว่าอายุการใช้งานของจะนานกว่าแน่นอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นชุดรั้วสำเร็จรูปทั้งหมดเลย การเลือกส่วนประกอบทั้งหมด มาเป็นชุดที่ถูกคิดค้นมาเพื่อติดตั้งใช้งานร่วมกันเลยนั้นจะเป็นตัวเลือกที่ถูกต้องกว่าอย่างแน่นอน

 

สรุป

รั้วบ้านถือว่ามีส่วนสำคัญมากๆ ของการที่จะทำให้บ้านของท่านนั้นน่าอยู่ ในเมื่อท่านได้เลือกวัสดุทั้งหมดของรั้ว ให้เป็นรูปแบบสำเร็จรูปแล้ว คงไม่มีปัญหาเลยหากท่านจะเลือกทำให้ความมั่นคงของโครงสร้างรั้ว แข็งแรงทนทานด้วยแบบหล่อฟุตติ้งสำเร็จรูป เพื่อเป็นการสร้างความมั่นใจว่า คุณภาพของรั้วจะอยู่ไปพร้อมกับอายุการใช้งานของบ้าน ซึ่งต้องยาวนานเท่าๆ กันน่าดีที่สุด

รูปแบบหม้อแปลงบนเสาไฟฟ้าที่พบเห็นบ่อย

รูปแบบหม้อแปลงบนเสาไฟฟ้าที่พบเห็นบ่อย

บางท่านอาจจะยังมีข้อสงสัย หรือยังไม่มีโอกาสได้ทำความเข้าใจ กับการใช้งานเสาไฟฟ้าคอนกรีต ที่กระจายตามส่วนต่างๆ ในเขตพื้นที่ชุมชน ตามสองข้างทาง หรือใกล้เคียงกับถนนใหญ่แถวบ้านของทุกท่าน ด้วยนอกเหนือจากความหลากหลายของขนาดเสาไฟฟ้าที่ใช้กันโดยทั่วไปตามที่เราได้พบเห็นกัน แต่แน่นอนว่าในความหลากหลายนั้น ในอุปกรณ์ติดพ่วงมากับเสาไฟฟ้าบางประเภท หรือในบางขนาดความสูง จะมีจุดเสริมที่ติดตั้งเพิ่มเติมให้เห็นถึงความแตกต่างจากเสาไฟฟ้าทั่วไปด้วยเช่นกัน

โดยเฉพาะในส่วนของเสาไฟฟ้าในขนาดความสูงตั้งแต่ 12 เมตรเป็นต้นไป การติดพ่วงหม้อแปลงมาด้วยนั้น จะเป็นเรื่องปกติที่เห็นกันจนชินตาอย่างแน่นอน เพราะด้วยคุณสมบัติที่ผลิตเสาไฟฟ้าคอนกรีตขนาดนี้ขึ้นมา เพื่อการใช้งานกับการช่วยเพิ่มศักยภาพให้กับการจ่ายไฟให้กับผู้คนได้ใช้งานกันนั่นเอง และวันนี้เราจะมาขยายความกับเรื่องของหม้อแปลง ที่ติดตั้งตามเสาไฟฟ้าในขนาดความสูงดังที่กล่าวมาดังต่อไปนี้

รูปแบบหม้อแปลงบนเสาไฟฟ้าที่พบเห็นแพร่หลายที่สุด

เดิมทีหน้าที่ของการทำงานร่วมกัน ระหว่างเสาไฟฟ้ากับหม้อแปลงนั้น จะเป็นการย่อขนาดจากรูปแบบการทำงานของโรงไฟฟ้า โดยจะมีการปรับเปลี่ยนจำนวนของแรงดันหรือกระแสไฟฟ้า ให้อยู่ในปริมาณที่พอใช้กันตามความจำเป็นนั่นเอง ซึ่งทางเราจะพยายามให้ทุกท่านได้ทำความเข้าใจได้ง่ายที่สุด โดยเบื้องต้น หม้อแปลงไฟฟ้านั้น จะรูปแบบที่ใช้ติดตั้งเพิ่มเติมบนเสาไฟฟ้าตามความสูงที่ 12 เมตร และที่สำคัญเลยก็คือ จะมีการแบ่งแยกประเภททั้งหมด 2 แบบ ได้แก่ แบบแขวน และแบบนั่งร้าน

โดยในแบบแขวนนั้น อาจจะเป็นรูปแบบของหม้อแปลงที่ติดตั้งบนเสาไฟฟ้าที่พบเห็นแพร่หลายพอสมควร โดยถ้าหากเป็นเสาสูงเกินหรือเท่ากับ 12 เมตร และพบเห็นการติดพ่วงแบบข้างเดียว ในฝั่งใดฝั่งหนึ่งของเสาไฟนั้น นั่นคือลักษณะของหม้อแปลงแบบแขวน ซึ่งจะใช้กับลักษณะของเสาไฟฟ้าแบบเสาเดี่ยว น้ำหนักส่วนใหญ่จะอยู่ที่ประมาณ 1000 กิโลกรัม และ 1200 กิโลกรัม ไม่เกินนี้

 

การติตดั้งหม้อแปลงแบบนั่งร้านบนเสาไฟฟ้า

แน่นอนว่าในการที่ต้องใช้รูปแบบการค้ำยัน หรือการติดตั้งหม้อแปลงในรูปแบบนั่งร้าน ที่มองผิวเผินจะมีลักษณะคล้าย กับการขึ้นส่วนประกอบของนั่งร้าน เพื่อการทำงานในการก่อสร้างงานโครงสร้างต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นลักษณะการถอดแบบมาในแบบเดียวกัน เพื่อให้เสาไฟฟ้านั้นสามารถรับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นจากหม้อแปลงได้ ด้วยขนาดของหม้อแปลงที่มีขนาดใหญ่ รับหน้าที่ในการแปลงกระแสไฟฟ้าที่มากกว่าแบบแขวน ด้วยน้ำหนักต่อชิ้นที่มากกว่า 300 กิโลกรัม การที่ต้องใช้ขั้นตอนการติดตั้ง ที่ต้องมีส่วนช่วยเหลือในการรับน้ำหนัก จึงจำเป็นกับการติดตั้งหม้อแปลงชนิดนี้ และที่สัญน้ำหนักสูงสุดของหม้อแปลงแบบนั่งร้านนี้ มีสูงสุดถึง 4500 กิโลกรัมเลยทีเดียว โดยจะรับหน้าที่ในการรองรับน้ำหนักของหม้อแปลง ที่รับกระแสไฟตั้งแต่ 50 kVA ไปจนถึงส่วนหม้อแปลงที่รับกระแสไฟในจำนวน 200 kVA ซึ่งจะมีน้ำหนักที่แปรผันตามสัดส่วนของขนาดของหม้อแปลงนั่นเอง

 

บทสรุปตอนท้าย

ถือว่าน่าจะทำให้หลายท่า น่าจะพอทำความเข้าใจกับเสาไฟฟ้าคอนกรีตขนาด 12 เมตรขึ้นไป และได้เห็นลักษณะของหม้อแปลง ที่มีลักษณะเป็นตู้สี่เหลี่ยม มองอีกแบบก็คล้ายกับลักษณะของรังผึ้ง ซึ่งถือว่าเป็นส่วนประกอบอย่างนึง ที่ทำให้พวกเรานั้นมีกระแสไฟฟ้าใช้งานกันอย่างที่เห็นในปัจจุบันนี้นั่นเอง

ปูพื้นในบริเวณบ้านด้วยแผ่นปูทางเท้าได้หรือไม่

ปูพื้นในบริเวณบ้านด้วยแผ่นปูทางเท้าได้หรือไม่

บางท่านอาจจะมองว่า เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ในเมื่อการปูแผ่นพื้น หรือแผ่นทางเท้าที่ใช้ในการปูพื้นฟุตบาท หรือทางเดินตามสองข้างถนนที่ใช้งานกันมาตั้งแต่เริ่มต้น แต่แน่นอนว่าคงไม่มีอะไรที่ยากเกินไปกว่าความสามารถ หรือแนวคิดของมนุษย์แล้ว สำหรับการดัดแปลงประยุกต์หรือปรับเปลี่ยนไอเดียการใช้วัสดุก่อสร้าง ให้ต่อยอดคุณสมบัติการใช้งานให้หลากหลายมากขึ้น

ซึ่งในปัจจุบันนี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ให้กันแทบจะทั่วประเทศ กับการปิดบริเวณพื้นที่ว่าง ในบริเวณของตัวบ้านที่เจ้าของบ้าน อาจจะไม่อยากใช้การเทคอนกรีต หรือการปลูกหญ้า ในเมื่อไอเดียใหม่ๆ ของการปรับใช้วัสดุก่อสร้างของพวกเขานั้น เป็นเรื่องที่ต้องการจะทดลองใช้งานกันอยู่แล้ว ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของแผ่นปูทางเท้า ที่จะทำให้ทุกท่านได้เห็นว่าการปูแผ่นปูรูปแบบดังกล่าวนั้นก็สามารถทำได้ และเป็นการจัดตกแต่งบริเวณบ้านได้อย่างลงตัวอีกด้วย

 

ใช้แผ่นปูทางเท้าไม่ต้องผสมปูน ไม่ต้องมีสารเคมีเพื่อช่วยการยึดเกาะ

คงเป็นเรื่องที่ทำให้ได้เห็นว่า ข้อดีของการใช้การดัดแปลงวัสดุบางอย่าง ที่ไม่ได้ตรงกับความต้องการของการใช้งานวัสดุก่อสร้าง มาทดลองใช้กับการตกแต่งบริเวณบ้านนั้น มีข้อดีในด้านใดบ้างที่จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อท่านเจ้าของบ้าน ที่กล้าที่จะคิดนอกกรอบ ในการจัดหาวัสดุที่ไม่ได้ตรงจุดประสงค์ของการใช้งานอย่างแผ่นปูทางเท้า มาใช้ในการปูพื้นในบริเวณรอบๆ ตัวบ้านให้ดูสวยงามได้อย่างง่ายดาย

ซึ่งเบื้องต้นความประหยัดนั้น ถือว่าน่าจะเป็นจุดเด่นอีกอย่างเลยทีเดียว เพราะการที่ท่านเองนั้น จะมีขั้นตอนของการติดตั้งตามขั้นตอนพื้นฐานของการติดตั้งแผ่นปูทางเท้า ที่มีเพียงแค่การเคลียร์พื้นดิน ให้รอการยึดเกาะแบบที่อ้างอิงตามหลักการของแรงโน้มถ่วง และใช้ประโยชน์จากทรายที่ใช้งานเพียงไม่มาก มาเคลียร์พื้นที่เพื่อติดตั้งแผ่นปูทางเท้าเท่านั้น ซึ่งก็เท่ากับว่านอกเหนือจากงบประมาณในการสั่งซื้อแผ่นปูทางเท้า มาในจำนวนที่ต้องใช้งานจริง และนอกจากนั้นก็มีเพียงแค่ดินทรายที่ต้องใช้งาน ก็สามารถปูบริเวณพื้นบ้านได้อย่างลงตัวแล้ว

 

การดูแลรักษาแผ่นปูทางเท้า หลังจากการติดตั้งไปแล้ว

จริงๆ แล้วไอเดียการตกแต่งบริเวณบ้านนั้น ยังมีอีกหลากหลายรูปแบบ ที่ถือว่าสามารถนำไปปรับใช้ และก็มีตัวอย่างให้เห็นกันจำนวนมากในโลกโซเชี่ยล แต่แน่นอนว่างบประมาณของท่านเองนั้น จะเพียพอหรือไม่ เพราะต้องไม่ลืมว่า ในการดูแลระยะยาวเมื่อใช้งานไปแล้ว ถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญไม่แพ้กัน เช่นการปลูกหญ้าตามบริเวณต่างๆ นอกตัวบ้านนั้น แน่นอนว่าในช่วงระยะเวลาที่หญ้าเจริญเติบโตสวยงามนั้น ถือว่าเป็นการเพิ่มภูมิทัศน์ที่น่าสนใจให้กับบ้านท่านพอสมควร แต่เมื่อวันหนึ่งที่ท่านไม่มีเวลาในการดูแลรักษา ทั้งการตัดหญ้าปรับแต่งให้สวยงาม หรือการดูแลในด้านการเจริญเติบโตให้ยังคงเขียวชอุ่มอยู่ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการป้องกันที่ค่อนข้างจุกจิกพอสมควร

แต่ในเมื่อการติดตั้งแผ่นปูทางเท้า ที่ทำเพียงแค่การวัดพื้นที่ และเตรียมดินทรายเพื่อรอการปูตามพื้นที่ ในนอกบริเวณตัวบ้านที่ท่านกำหนดไว้แล้วเท่านั้น จากนั้นการดูแลรักษามากสุดก็มีเพียงแค่การทำความสะอาด ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่การฉีดน้ำ ใช้สารซักฟอกพื้นเพื่อช่วยทำความสะอาด เพียงเท่านี้ก็เสร็จสิ้น พื้นในบริเวณนอกตัวบ้านก็ยังดูใหม่อยู่ตลอดแล้ว

 

บทสรุปตอนท้าย

นับว่าเป็นไอเดียที่สุดแสนจะชาญฉลาด สำหรับการที่หลายท่านในตอนนี้ ต่างนำเอาการปรับปรุง รูปแบบของวัสดุก่อสร้างที่อาจจะไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อการตกแต่งบ้านในบางอย่าง มาทำให้สามารถเข้ากับรูปแบบการตกแต่งบ้านในบ้านพักอาศัยส่วนตัวกันได้อย่างเข้าที่เข้าทางที่สุด โดยเฉพาะในการที่เราได้เห็นการนำเอาแผ่นปูทางเท้า มาเป็นวัสดุตกแต่งพื้นว่างเปล่ารอบตัวบ้านนั้น ถือว่าเป็นอะไรที่ถือว่าเข้ากันเป็นอย่างดีเลยทีเดียว