ปิดอากรแสตมป์ แต่ไม่ได้ขีดฆ่าคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4574/2561โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระต้นเงินและดอกเบี้ยตามสัญญากู้ยืม จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้ยืมเงินจากโจทก์ โจทก์นำสืบสัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 เป็นพยานหลักฐานตามข้ออ้างของตน สัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ท้ายประมวลรัษฎากร แต่ไม่ได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์ตามที่กฎหมายกำหนด ย่อมถือว่าสัญญากู้เงินดังกล่าวไม่ได้ปิดอากรแสตมป์บริบูรณ์ไม่อาจรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้ตาม ป.รัษฎากร มาตรา 118 มีผลเท่ากับว่าโจทก์ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ โจทก์จึงฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรคหนึ่ง และปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องอำนาจฟ้องอันเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาในปัญหาดังกล่าว ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคมีอำนาจวินิจฉัยได้เองตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 โจทก์จึงไม่มีพยานหลักฐานที่จะฟังว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ไปจริงตามฟ้อง

ปิดอากรแสตมป์ แต่ไม่ได้ขีดฆ่าคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4574/2561โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระต้นเงินและดอกเบี้ยตามสัญญากู้ยืม จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้ยืมเงินจากโจทก์ โจทก์นำสืบสัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 เป็นพยานหลักฐานตามข้ออ้างของตน สัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ท้ายประมวลรัษฎากร แต่ไม่ได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์ตามที่กฎหมายกำหนด ย่อมถือว่าสัญญากู้เงินดังกล่าวไม่ได้ปิดอากรแสตมป์บริบูรณ์ไม่อาจรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้ตาม ป.รัษฎากร มาตรา 118 มีผลเท่ากับว่าโจทก์ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ โจทก์จึงฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรคหนึ่ง และปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องอำนาจฟ้องอันเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาในปัญหาดังกล่าว ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคมีอำนาจวินิจฉัยได้เองตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 โจทก์จึงไม่มีพยานหลักฐานที่จะฟังว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ไปจริงตามฟ้อง

ปิดอากรแสตมป์ แต่ไม่ได้ขีดฆ่าคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 4574/2561โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระต้นเงินและดอกเบี้ยตามสัญญากู้ยืม จำเลยให้การปฏิเสธว่าไม่ได้กู้ยืมเงินจากโจทก์ โจทก์นำสืบสัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 เป็นพยานหลักฐานตามข้ออ้างของตน สัญญากู้เอกสารหมาย จ.1 ปิดอากรแสตมป์ครบถ้วนตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ท้ายประมวลรัษฎากร แต่ไม่ได้ขีดฆ่าอากรแสตมป์ตามที่กฎหมายกำหนด ย่อมถือว่าสัญญากู้เงินดังกล่าวไม่ได้ปิดอากรแสตมป์บริบูรณ์ไม่อาจรับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีแพ่งได้ตาม ป.รัษฎากร มาตรา 118 มีผลเท่ากับว่าโจทก์ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสำคัญ โจทก์จึงฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ตาม ป.พ.พ. มาตรา 653 วรรคหนึ่ง และปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องอำนาจฟ้องอันเป็นข้อกฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชนแม้ไม่มีคู่ความฝ่ายใดฎีกาในปัญหาดังกล่าว ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคมีอำนาจวินิจฉัยได้เองตาม ป.วิ.พ. มาตรา 142 (5) ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 โจทก์จึงไม่มีพยานหลักฐานที่จะฟังว่าจำเลยกู้เงินโจทก์ไปจริงตามฟ้อง

นายหน้าเพียงแต่ชี้ช่อง พาไปดูทรัพย์สิน ติดต่อ จัดการให้ได้ซื้อขายกัน ถือว่าสมบูรณ์ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ แม้จะไม่ได้อยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3181/2536   นายหน้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 นั้น ได้แก่ผู้ชี้ช่องให้ได้มีการเข้าทำสัญญากันหรือผู้ที่จัดการให้ได้ทำสัญญากัน และนายหน้ามีสิทธิได้รับบำเหน็จ ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำกันเสร็จ เนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือจัดการนั้น การที่ ก. ได้พา ส. ผู้ซื้อไปพบจำเลยที่ 4 ผู้ขายและพากันไปดูที่ดิน และต่อมาได้มีการซื้อขายกันเนื่องมาจากการชี้ช่องดังกล่าว ก. จึงมีสิทธิได้รับค่าบำเหน็จ โดยไม่จำเป็นที่ ก.จะต้องอยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง แต่อย่างใด

นายหน้าเพียงแต่ชี้ช่อง พาไปดูทรัพย์สิน ติดต่อ จัดการให้ได้ซื้อขายกัน ถือว่าสมบูรณ์ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ แม้จะไม่ได้อยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3181/2536 นายหน้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 นั้น ได้แก่ผู้ชี้ช่องให้ได้มีการเข้าทำสัญญากันหรือผู้ที่จัดการให้ได้ทำสัญญากัน และนายหน้ามีสิทธิได้รับบำเหน็จ ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำกันเสร็จ เนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือจัดการนั้น การที่ ก. ได้พา ส. ผู้ซื้อไปพบจำเลยที่ 4 ผู้ขายและพากันไปดูที่ดิน และต่อมาได้มีการซื้อขายกันเนื่องมาจากการชี้ช่องดังกล่าว ก. จึงมีสิทธิได้รับค่าบำเหน็จ โดยไม่จำเป็นที่ ก.จะต้องอยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง แต่อย่างใด

นายหน้าเพียงแต่ชี้ช่อง พาไปดูทรัพย์สิน ติดต่อ จัดการให้ได้ซื้อขายกัน ถือว่าสมบูรณ์ มีสิทธิได้รับบำเหน็จ แม้จะไม่ได้อยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3181/2536 นายหน้าตามความหมายของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 นั้น ได้แก่ผู้ชี้ช่องให้ได้มีการเข้าทำสัญญากันหรือผู้ที่จัดการให้ได้ทำสัญญากัน และนายหน้ามีสิทธิได้รับบำเหน็จ ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำกันเสร็จ เนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือจัดการนั้น การที่ ก. ได้พา ส. ผู้ซื้อไปพบจำเลยที่ 4 ผู้ขายและพากันไปดูที่ดิน และต่อมาได้มีการซื้อขายกันเนื่องมาจากการชี้ช่องดังกล่าว ก. จึงมีสิทธิได้รับค่าบำเหน็จ โดยไม่จำเป็นที่ ก.จะต้องอยู่ด้วยในการเจรจาซื้อขายทุกๆ ครั้ง แต่อย่างใด

ถ้าคุณไปถามนกกระจอก เรื่อง  “บินสูงเหนือเมฆ”มันจะตอบคุณว่า “ คุณทำมันไม่ได้หรอก” กับ “ มันเป็นไปไม่ได้หรอก”แต่ถ้าคุณไปถาม นกอินทรีย์มันจะตอบว่า“ คุณสามารถทำมันได้”แล้วมันก็จะสอนคุณบินอีกต่างหากการถามให้ถูกคน มีความสำคัญ

ถ้าคุณไปถามนกกระจอก เรื่อง “บินสูงเหนือเมฆ”มันจะตอบคุณว่า “ คุณทำมันไม่ได้หรอก” กับ “ มันเป็นไปไม่ได้หรอก”แต่ถ้าคุณไปถาม นกอินทรีย์มันจะตอบว่า“ คุณสามารถทำมันได้”แล้วมันก็จะสอนคุณบินอีกต่างหากการถามให้ถูกคน มีความสำคัญ

ถ้าคุณไปถามนกกระจอก เรื่อง “บินสูงเหนือเมฆ”มันจะตอบคุณว่า “ คุณทำมันไม่ได้หรอก” กับ “ มันเป็นไปไม่ได้หรอก”แต่ถ้าคุณไปถาม นกอินทรีย์มันจะตอบว่า“ คุณสามารถทำมันได้”แล้วมันก็จะสอนคุณบินอีกต่างหากการถามให้ถูกคน มีความสำคัญ

กรณีที่ซื้อทรัพย์จากการประมูลในการขายทอดตลาด สำนักงานบังคับคดี ปรากฏว่า จำเลย ลูกหนี้ และบริวารไม่ยอมออกจากทรัพย์ที่ประมูลได้ คำถามที่พบบ่อย คือผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดหรือประมูลสู้ราคาได้ จากสำนักงานบังคับคดี แต่กลับพบว่ายังมีลูกหนี้ บริวาร ยังคงพักอาศัยอยู่บ้าน หรือคอนโดหรือที่ดินนั้น เราควรทำอย่างไรตอบ : ผู้ซื้อทรัพย์หรือผู้ประมูลได้จะต้องไปยื่นคำร้องต่อศาล เพื่อบังคับให้ลูกหนี้ พร้อมบริวาร ขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากทรัพย์ประมูล   โดยผู้ซื้อหรือผู้ประมูลได้ ไม่จำเป็นต้องไปยื่นคำฟ้องขับไล่เป็นคดีใหม่ ตามพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ ซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายขึ้นกว่าในอดีต

กรณีที่ซื้อทรัพย์จากการประมูลในการขายทอดตลาด สำนักงานบังคับคดี ปรากฏว่า จำเลย ลูกหนี้ และบริวารไม่ยอมออกจากทรัพย์ที่ประมูลได้ คำถามที่พบบ่อย คือผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดหรือประมูลสู้ราคาได้ จากสำนักงานบังคับคดี แต่กลับพบว่ายังมีลูกหนี้ บริวาร ยังคงพักอาศัยอยู่บ้าน หรือคอนโดหรือที่ดินนั้น เราควรทำอย่างไรตอบ : ผู้ซื้อทรัพย์หรือผู้ประมูลได้จะต้องไปยื่นคำร้องต่อศาล เพื่อบังคับให้ลูกหนี้ พร้อมบริวาร ขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากทรัพย์ประมูล โดยผู้ซื้อหรือผู้ประมูลได้ ไม่จำเป็นต้องไปยื่นคำฟ้องขับไล่เป็นคดีใหม่ ตามพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ ซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายขึ้นกว่าในอดีต

กรณีที่ซื้อทรัพย์จากการประมูลในการขายทอดตลาด สำนักงานบังคับคดี ปรากฏว่า จำเลย ลูกหนี้ และบริวารไม่ยอมออกจากทรัพย์ที่ประมูลได้

คำถามที่พบบ่อย คือผู้ซื้อทรัพย์จากการขายทอดตลาดหรือประมูลสู้ราคาได้ จากสำนักงานบังคับคดี แต่กลับพบว่ายังมีลูกหนี้ บริวาร ยังคงพักอาศัยอยู่บ้าน หรือคอนโดหรือที่ดินนั้น เราควรทำอย่างไร

ตอบ : ผู้ซื้อทรัพย์หรือผู้ประมูลได้จะต้องไปยื่นคำร้องต่อศาล เพื่อบังคับให้ลูกหนี้ พร้อมบริวาร ขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากทรัพย์ประมูล   โดยผู้ซื้อหรือผู้ประมูลได้ ไม่จำเป็นต้องไปยื่นคำฟ้องขับไล่เป็นคดีใหม่ ตามพ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2560 ซึ่งมีผลบังคับใช้ ซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายขึ้นกว่าในอดีต

#image_title

การฟ้องร้องคดีตามสัญญากู้ยืมเงิน การลงชื่อในกระดาษเปล่า (ไม่ได้กรอกจำนวนเงินกู้ยืมเงิน) แบ่งได้ออกเป็น 2 กรณี1. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขตามความเป็นจริง สามารถฟ้องร้องคดีได้ อ้างอิง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/25482. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขสูงกว่าความเป็นจริงที่กู้เงินจริง ถือว่าเป็นเอกสารปลอม เท่ากับไม่มีหลักฐานการกู้ยืมมาฟ้องร้องคดี ผู้กู้ไม่ต้องรับผิดเลย อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1539/2548

การฟ้องร้องคดีตามสัญญากู้ยืมเงิน การลงชื่อในกระดาษเปล่า (ไม่ได้กรอกจำนวนเงินกู้ยืมเงิน) แบ่งได้ออกเป็น 2 กรณี1. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขตามความเป็นจริง สามารถฟ้องร้องคดีได้ อ้างอิง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/25482. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขสูงกว่าความเป็นจริงที่กู้เงินจริง ถือว่าเป็นเอกสารปลอม เท่ากับไม่มีหลักฐานการกู้ยืมมาฟ้องร้องคดี ผู้กู้ไม่ต้องรับผิดเลย อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1539/2548

การฟ้องร้องคดีตามสัญญากู้ยืมเงิน การลงชื่อในกระดาษเปล่า (ไม่ได้กรอกจำนวนเงินกู้ยืมเงิน) แบ่งได้ออกเป็น 2 กรณี1. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขตามความเป็นจริง สามารถฟ้องร้องคดีได้ อ้างอิง คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 247/25482. ผู้ให้กู้กรอกตัวเลขสูงกว่าความเป็นจริงที่กู้เงินจริง ถือว่าเป็นเอกสารปลอม เท่ากับไม่มีหลักฐานการกู้ยืมมาฟ้องร้องคดี ผู้กู้ไม่ต้องรับผิดเลย อ้างอิงคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1539/2548

#image_title

หลักฐานการกู้ยืมเป็นหนังสือ จะมีขึ้นก่อนหรือหลังกู้ยืมเงินก็ได้ แต่ต้องก่อนฟ้องคดีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8175/2551   หลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 653 นั้นอาจเกิดมีขึ้นในขณะกู้ยืมเงินกันหรือภายหลังจากนั้นก็ได้ และมิได้จำกัดว่าจะต้องเป็นหลักฐานที่ได้มอบไว้แก่กัน แม้คำให้การพยานที่จำเลยเบิกความไว้ในคดีอาญาของศาลชั้นต้นว่าจำเลยกู้ยืมเงินไปจากโจทก์จะเกิดมีขึ้นภายหลังการกู้ยืมเงินและไม่มีการส่งมอบให้ไว้แก่กันก็ตาม ก็ถือได้ว่าการกู้ยืมเงินระหว่างจำเลยและโจทก์เป็นกรณีที่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีหลักฐานการใช้เงินเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อโจทก์ผู้ให้ยืมมาแสดง จำเลยจึงนำสืบการใช้เงินไม่ได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามบทกฎหมายข้างต้น

หลักฐานการกู้ยืมเป็นหนังสือ จะมีขึ้นก่อนหรือหลังกู้ยืมเงินก็ได้ แต่ต้องก่อนฟ้องคดีคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8175/2551 หลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 653 นั้นอาจเกิดมีขึ้นในขณะกู้ยืมเงินกันหรือภายหลังจากนั้นก็ได้ และมิได้จำกัดว่าจะต้องเป็นหลักฐานที่ได้มอบไว้แก่กัน แม้คำให้การพยานที่จำเลยเบิกความไว้ในคดีอาญาของศาลชั้นต้นว่าจำเลยกู้ยืมเงินไปจากโจทก์จะเกิดมีขึ้นภายหลังการกู้ยืมเงินและไม่มีการส่งมอบให้ไว้แก่กันก็ตาม ก็ถือได้ว่าการกู้ยืมเงินระหว่างจำเลยและโจทก์เป็นกรณีที่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีหลักฐานการใช้เงินเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อโจทก์ผู้ให้ยืมมาแสดง จำเลยจึงนำสืบการใช้เงินไม่ได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามบทกฎหมายข้างต้น

หลักฐานการกู้ยืมเป็นหนังสือ จะมีขึ้นก่อนหรือหลังกู้ยืมเงินก็ได้ แต่ต้องก่อนฟ้องคดี

คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 8175/2551

หลักฐานการกู้ยืมเงินเป็นหนังสือที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 653 นั้นอาจเกิดมีขึ้นในขณะกู้ยืมเงินกันหรือภายหลังจากนั้นก็ได้ และมิได้จำกัดว่าจะต้องเป็นหลักฐานที่ได้มอบไว้แก่กัน แม้คำให้การพยานที่จำเลยเบิกความไว้ในคดีอาญาของศาลชั้นต้นว่าจำเลยกู้ยืมเงินไปจากโจทก์จะเกิดมีขึ้นภายหลังการกู้ยืมเงินและไม่มีการส่งมอบให้ไว้แก่กันก็ตาม ก็ถือได้ว่าการกู้ยืมเงินระหว่างจำเลยและโจทก์เป็นกรณีที่มีหลักฐานเป็นหนังสือ ดังนั้น เมื่อจำเลยไม่มีหลักฐานการใช้เงินเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อโจทก์ผู้ให้ยืมมาแสดง จำเลยจึงนำสืบการใช้เงินไม่ได้ เพราะเป็นการต้องห้ามตามบทกฎหมายข้างต้น

#image_title